..." กาลเวลาที่น่าจดจำ "...

ทุกช่วงเวลาที่ดี คือ การที่เราเป็นเพื่อนกัน และเพื่อนก็ไม่มีวันทึ่จะทิ้งกัน จำไว้....

...รักเพื่อนทุกคนนะ....

เพื่อน เราสามารถหาได้ทุกที่ แต่...............................

เพื่อนแท้ เราจะหาได้จากไหน..................................

ทุกครั้งถามตัวเองมาตลอด.......................................

แต่...ตอนนี้รู้แล้วว่า...หาได้จากห้อง 2/3 แผนก คอมพิวเตอร์แน่นอน..................


""""""""ทุกครั้งที่น้ำตาไหลและใจสับสน""""""""

................รู้ไหมใครอยู่ในใจฉันเสมอ.................

..............ก็จะใครเล่ามีแต่เจ้าเพื่อนเกลอ................

...........มันชอบเข้ามาละเมอเพ้อพบให้เฮฮา.............

......................................เพื่อน........................................
.............................มันมีเหตุผลหลายอย่าง ...............................
...................ที่เราจำเป็นต้องหักห้ามใจไม่ให้รักใครสักคน...................
........................เหตุผลของคนเราย่อมไม่เหมือนกัน.........................
...............บางคนอาจต้องห้ามใจเพราะรู้ตัวว่ามันคงเป็นไปไม่ได้..............
.............................บางคนอาจต้องห้ามใจ..................................
..............เพราะกลัวใจตัวเองจะถลำลึกและเจ็บปวดมากไปกว่านี้................
.............บางคนอาจต้องห้ามใจเพราะมีคนที่รักคนที่เรารักมาก่อน................
....และคนคนนั้นก็คือคนที่เรารู้จักและเราก็ไม่อยากทำร้ายความรู้สึกของคนคนนั้น..
.........บางคนอาจต้องห้ามใจเพราะเขาอาจไม่ได้คิดและรู้สึกเหมือนกับเรา........
.........................ทุกข์ทรมานแค่ไหนที่เรารักเขา..............................
.....................แต่ต้องพยายามฝืนใจถอยห่างออกมา...........................
......เราต้องเงียบ ต้องเฉยชา ต้องเลี่ยง ต้องหลบหน้า ต้องทำหน้าตาบึ้งตึงใส่.......
................เพื่อจะย้ำเตือนให้ตัวเองไม่ต้องรู้สึกอะไรใดๆ.......................
...........กับเขามันเจ็บแทบบ้าที่ต้องทำร้ายตัวเองด้วยวิธีการนี้....................
.......แม้จะดูเป็นวิธีการโง่ๆ แต่หากจำเป็นต้องทำเพื่อปกป้องตัวเอง...............
....................เพื่อไม่ให้ใจของตัวเองต้องบาดเจ็บ.............................
..........ความหวัง เป็นเหมือนกำลังใจแต่มันก็จะไม่สมหวังเช่นกัน...............
............ถ้ามัวแต่หวังอยู่อย่างนั้นแต่ก็ใช่ว่า เมื่อก้าวเดินตามฝัน.................
......หรือทำตามความหวังแล้วมันจะสำเร็จตามที่ใจต้องการเสมอไป.............
.....สำหรับบางอย่าง มันก็ต้องเผื่อใจไว้บ้างมันอาจจะไม่เป็นอย่างนั้น............
...........มันอาจจะไม่เป็นอย่างนี้อย่างที่เราต้องการให้มันเป็น...................

1. คำสั่ง scanf() เป็นฟังก์ชันที่รับค่าจากอุปกรณ์นำเข้ามาตรฐาน และนำค่าที่ได้เก็บไว้ในตัวแปรในโปรแกรม

รูปแบบคำสั่ง






เมื่อโปรแกรมทำงานถึงฟังก์ชันนี้จะหยุดเพื่อให้ป้อนข้อมูล โดยข้อมูลที่ป้อนจะแสดงบนจอภาพ เมื่อป้อนข้อมูลเสร็จกด Enter ข้อมูลทั้งหมดจะเก็บในตัวแปร var ชนิดของข้อมูลที่กำหนดให้กับตัวแปร var จะถูกกำหนดโดยตัวกำหนดชนิดข้อมูลซึ่งระบุในส่วนของ format code ตัวกำหนดชนิดข้อมูลของฟังก์ชัน scanf() จะเหมือนกับของฟังก์ชันprintf() ฟังก์ชัน scanf() จะทำให้เคอร์เซอร์ ขึ้นบรรทัดใหม่หลังจากกด Enter

ตัวอย่าง
#include "stdio.h"
#include "conio.h"
void main()
{
int a,b,c;
clrscr();
printf("Enter three integer numbers : ");
scanf("%d%d%d",&a,&b,&c);
printf("a = %d b = %d c = %d \n",a,b,c);
}
เป็นการป้อนเลขจำนวนเต็ม 3 ตัวให้กับตัวแปร a,b และ c ในการป้อนตัวเลขให้เว้น ช่องว่างระหว่างตัวเลขแต่ละชุดซึ่ง scanf() จะข้อมช่องว่างไปจนกระทั่งพบตัวเลขจึงจะอ่านข้อมูลอีกครั้ง

2. ฟังก์ชั่น printf() เป็นฟังก์ชั่นใช้ พิมพ์ค่าข้อมูลไปยังหน้าจอคอมพิวเตอร์

รูปแบบคำสั่ง





control string อาจจะเป็นตัวอักษร ข้อความหรือตัวกำหนดชนิดข้อมูล (specifier) ซึ่งใช้กำหนดชนิดข้อมูลที่จะพิมพ์ ตัวกำหนดชนิดข้อมูล

ตัวกำหนดชนิดข้อมูล
%c แทนตัวอักษร
%d แทนเลขจำนวนเต็ม
%e แทนเลขในรูปเอกซ์โพเนนเชียล (exponential form)
%f แทนเลขทศนิยม
%0 แทนเลขฐานแปด
%s แทนสตริงก์
%u แทนเลขจำนวนเต็มไม่คิดเครื่องหมาย
%x แทนเลขฐานสิบหก
%p แทนข้อมูลแบบพอยน์เตอร์ (pointer)
%% แทนเครื่องหมาย %


สามารถดัดแปลงเพื่อใช้เป็นตัวกำหนดชนิดข้อมูลอื่นๆได้โดย โมดิฟายเออร์ (modifier) l,h และL โมดิฟายเออร์ l จะสามารถใช้กับตัวกำหนดชนิดข้อมูล %d, %o , %u และ %x เพื่อใช้กับข้อมูลชนิดยาวเช่น %ld หมายถึงข้อมูลชนิดเลขจำนวนเต็มยาวโมดิฟายเออร์ h จะใช้ในลักษณะเดียวกันกับข้อมูลชนิดสั้น เช่น %hd หมายถึง ข้อมูลชนิดเลขจำนวนเต็มสั้น
สำหรับข้อมูลชนิดทศนิยมจะมีโมดิฟายเออร์ l และ L โดย l จะหมายถึงข้อมูลชนิดเลขจำนวนจริงละเอียด 2 เท่า ส่วน L จะหมายถึงข้อมูลชนิดเลขจำนวนจริงรายละเอียด 2 เท่า เช่น %lf หมายถึงข้อมูลชนิดเลขจำนวนจริงละเอียด 2 เท่า
ตัวอย่าง
#include
#include
void main(void)
{
int n;
clrscr();
n=100;
printf("Number = %d",n);
getch();
}

3. ฟังก์ชัน getchar() ฟังก์ชัน getchar() ใช้สำหรับป้อนตัวอักษรผ่านทางแป้นพิมพ์โดยจะรับตัวอักษรเพียง 1 ตัวเท่านั้น และแสดงตัวอักษรบนจอภาพ

รูปแบบคำสั่ง




เมื่อโปรแกรมทำงานถึงคำสั่งนี้จะหยุดเพื่อให้ป้อนตัวอักษร 1 ตัว หลังจากนั้นกด Enter ตัวอักษรที่ป้อนจะถูกเก็บไว้ในตัวแปร ch ซึ่งเป็นชนิดตัวอักษรและเคอร์เซอร์จะขึ้นบรรทัดใหม่ ฟังก์ชัน getchar() กำหนดในไฟล์ stdio.h เช่นเดียวกับฟังก์ชัน scanf()
ตัวอย่าง
#include
void main()
{
char ch;
printf("Type one character ");
ch = getchar();
printf("The character you type is %c \n",ch);
printf("The character you typed is ");
putchar(ch);
}
การใช้ฟังก์ชัน putchar() แทน printf() จะพิมพ์ตัวอักษร 1 ตัว และเคอร์เซอร์จะไม่ขึ้นบรรทัดใหม่

4. คำสั่ง getche(); และ getch();
คำสั่ง getche(); จะรับตัวอักษร 1 ตัวที่ป้อนทางแป้นพิมพ์

รูปแบบคำสั่ง getche();




ความหมาย ch หมายถึง ตัวแปรชนิดตัวอักษร

แสดงตัวอักษรบนจอภาพ เมื่อป้อนข้อมูลเสร็จไม่ต้องกด Enter และเคอร์เซอร์จะไม่ขึ้นบรรทัดใหม่ ฟังก์ชัน getch() จะคล้ายกับฟังก์ชัน getche() ต่างกันตรงที่จะไม่แสดงตัวอักษรขณะป้อนข้อมูล ฟังก์ชัน getche() และ getch() กำหนดในไฟล์ conio.h ดังนั้นจะต้องระบุไฟล์ดังกล่าวในโปรแกรม
ตัวอย่าง คำสั่ง getche();
#include "stdio.h"
#include "conio.h"
void main(void)
{
char answer;
clrscr();
printf("Enter A Character : ");
answer=getche();
printf("\n");
printf("A Character is : %c\n",answer);
getch();
}


คำสั่งgetch(); คือฟังก์ชันที่ใช้สำหรับรับข้อมูลชนิดตัวอักษร ผ่านแป้นพิมพ์ 1 ตัวอักษร

รูปแบบคำสั่ง getch();




จะไม่แสดงตัวอักษรบนจอภาพ เมื่อป้อนตัวอักษรเสร็จแล้ว ไม่ต้องกด Enter และเคอร์เซอร์จะไม่ขึ้นบรรทัดใหม่ และเป็นฟังก์ชันที่กำหนดอยู่ในไฟล์ conio.h รูปแบบคำสั่ง ความหมาย
ตัวอย่าง คำสั่ง getch();
#include
#include
void main(void)
{
char answer;
clrscr();
printf("Enter A Character : ");
answer=getch();
printf("\n");
printf("A Character is : ");
putchar(answer);
getch();
}

5. ฟังก์ชัน gets() ฟังก์ชัน gets() ใช้สำหรับข้อมูลชนิดสตริงก์หรือข้อความซึ่งป้อนทางแป้นพิมพ์

รูปแบบคำสั่ง




เมื่อโปรแกรมทำงานถึงคำสั่งนี้จะหยุดเพื่อให้ป้อนข้อความ เมื่อป้อนเสร็จแล้วกด Enter ข้อความ ทั้งหมดจะถูกเก็บไว้ในอาร์เรย์สตริงก์ str โดย carriage return (จากการกด Enter) จะแทนด้วยสตริงก์ศูนย์ ฟังก์ชัน gets() จะทำให้เคอร์เซอร์ขึ้นบรรทัดใหม่ หลังจากกด Enter กำหนดในไฟล์ stdio.h
ตัวอย่าง

#include”stdio.h”
main()
{
char message[50];
printf(“ Enter a message(less than 49 characters)\n”);
gets(message);
printf(“ The message you entered is %s\n”,message);
}

ในปี ค.ศ. 1972 Dennis Ritchie เห็นผู้คิดค้นสร้างภาษาซีขึ้นเป็นครั้งแรก โดยพัฒนามาจากภาษา B และภาษา BCPL แต่ในขณะนั้นยังไม่มีการใช้งานภาษาซีอย่างกว้างขวางนัก จนกระทั้งต่อมาในปี ค.ศ. 1972 Brain Kernighan
ได้ร่วมกับ Dennis Ritchie พั๖นามาตรฐานของภาษาซีขึ้น เรียกว่า K&R (Kernighan&Ritchie) และเขียนหนังสือชื่อ
"The C Programming Language" ออกมาเป็นเล่มแรก ทรให้เริ่มมีผู้สนใจภาษาซีเพิ่มมากขึ้น และด้วยความยืดหยุ่นของภาษาซีที่สามารถประบใช้งานกับคอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆ ได้ ทำหใภษาซีได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนแพร่หลายไปทั่วโลก
จนมีบริษัทต่างๆ สร้างและผลิตภาษาซีออมมาเป็นจำนวนมาก เกิดเป็นภาษาซีในหลากหลายรูปแบบ เนื่องจากในขณะนั้นยังไม่มีการกำหนดมาตรฐานสำหรับการสร้างภาษาซี ดังนั้นในปี ค.ศ. 1988 Ritchie และ Kernighan จึงได้ร่วมกับ
ANSI (American National Standards Institute)
สร้างมาตรฐานของภาษาซีขึ้น เรียกว่า ANSI C เพื่อใช้เป็นตัวกำหนดมาตรฐานในการสร้างภาษาซีรุ่นต่อๆ ไป

ในปัจจุบันภาษาซียังคงได้รับความนิยมและใช้งานอย่างกว้างขวาง เนื่องจากเป็นภาษาระดับกลาง (middle-level language) ที่เหมาะกับการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง (structurde programming) และเป็นภาษาที่มีความยืดหยุ่นมาก คือ ใช้งานกับเครื่องต่างๆ ได้ และที่สำคัญในปัจจุบันภาษาโปรแกรมรุ่นใหม่ เช่น c++,perl,Java,C# ฯลฯ ยังใช้หลักการของภาษาซีเป็นพื้นฐานด้วย กล่าวคือ หากมีพื้นฐานของภาษาซีมาก่อน ก็จะสามารถศึกษาภาษารุ่นใหม่เหล่านี้ได้ง่ายขึ้น